ผลงานวิจัยที่ผ่านมา
รังสรรค์ วงค์สรรค์ และ ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง (2560). การเพิ่มประสิทธิภาพของสายอากาศปากแตรรูปกรวยโดยใช้เทคนิคอภิวัสดุที่อยู่ในรูปแบบโครงสร้างช่องว่างแถบความถี่แม่เหล็กไฟฟ้าแบบดอกเห็ดสำหรับสถานีเชื่อมต่อสัญญาณ - คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. วช. รังสรรค์ วงค์สรรค์ ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง พีรสัณฑ์ คำสาลี และศรันย์ คัมภีร์ภัทร(2559). การเพิ่มประสิทธิภาพสายอากาศของระบบเรดาร์สำหรับกองทัพไทยโดยใช้เทคนิคโครงสร้างอภิวัสดุ - โครงการทุนพัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านยุทโธปกรณ์เพื่อเพิ่มศักยภาพของกองทัพและการป้องกันประเทศประจำปีงบประมาณ 2559
งานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
1. Pumipong Duangtang, Piyapron Mesawad, and Ransang “Performance Improvement of Conical Horn Antenna by Using Wire Medium Structure and Dielectric Load”, Suranaree Journal of Science and Technology, Thailand, 2017
2. Pumipong Duangtang, Piyapron Mesawad, and Ransang Wongsan “Creating a Gain Enhancement Technique for a Conical Horn Antenna by Adding a Wire Medium Structure at the Aperture”, Journal of Electromagnetic Engineering and Science, Korea, 2016
3. Bhutharit Vittataphattananurak Raksasisi, Thansamay Vorlaphim, Jiravan Khotsakdee, Pumipong Duangtang, Siwapon Paengkoum and Pramote Paengkoum “Effect of aging period on turkey meat quality (age 6 months)” KHON KAEN AGRICULTURE JOURNAL, 2014
งานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ
1. ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง, ธนาวุฒิ ธนวาณิชย์ กฤตกรณ์ ศรีวันนา รุ่งโรจน์ สุขใจมุข และภานุพันธ์ จิตคํา. “การพัฒนาเครื่องพิมพ์ขึ้นรูปข้าวแต๋น สําหรับกลุ่มผู้ผลิตข้าวแต๋นในเขตเทศบาลตําบลจันจว้า อําเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย” วารสารนวัตกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน, หน้า 20 – 28, ฉบับที่ 1 (2019): มกราคม - ธันวาคม 2562
2. ธนาวุฒิ ธนวาณิชย์, ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง, และอนุสรณ์ ใจแก้ว. “การเพิ่มอัตราขยายชุดกำเนิดความถี่ไมโครเวฟสำหรับตู้อบแห้งสับปะรด ด้วยสายอากาศปากแตรรูปพีระมิด” วารสารนวัตกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน, หน้า 11 – 19, ฉบับที่ 1 (2019): มกราคม - ธันวาคม 2562
งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
1. Anusorn Chaikaew Thanawut Thanavanich Pumipong Duangtang Kittakorn Sriwanna and Wipobh Jaikhang “Convolutional Neural Network for Pineapple Ripeness Classification Machine”, 2019 International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON 2019), Pattaya, Thailand, 2019.
2. Pumipong Duangtangand Ransang Wongsan “Wire Medium Structure for Gain Enhancement of Conical Horn Antenna”, The 2018 International Electrical Engineering Congress (iEECON2018), Krabi, Thailand, 2018.
3. Pumipong Duangtang, Piyapron Mesawad, and Ransang Wongsan “Gain Improvement of Conical Horn Antennas by Adding Wire Medium Structure”, 2016 International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON 2016), Change Mai, Thailand, 2016
4. Pumipong Duangtang, Piyapron Mesawad, and Ransang Wongsan “Dimension Reduction of Conical Horn Antennas By Adding Structure of Metamaterial” IEEE Asia Pacific Conference on Wireless and Mobile (APWiMob 2015), Bandung, Indonesia 2015
5. Pumipong Duangtang, Piyapron Mesawad, and Ransang Wongsan “Gain Improvement for Conventional Conical Horn By Using Mushroom-like Electromagnetic Band Gap” 2014 International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON 2014), Nakhon Ratchasima, Thailand, 2014
งานประชุมวิชาการระดับชาติ
1. ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง บุตรี เวทพิเชฐโกศล พงศภัค ต่างใจ และ วรเชษฐ เมืองมูล.“ระบบคัดแยกความสุกดิบของสับปะรดด้วยลักษณะสีของเปลือกโดยใช้โครงข่ายประสาทแบบคอนโวลูชัน”,การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 13 (Proceedings of the 13th Conference of Electrical Engineering Network 2018: EENET 2018), หน้า 284 – 287 ,เชียงราย, 12 – 14 พฤษภาคม 2564.
2. รุ่งโรจน์ สุขใจมุข และ ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง. “การควบคุมความแออัดด้วยการประมวลผลคอมพิวเตอร์แบบหมอกขั้นสูง ในเครือข่ายไอซีเอ็น เพื่อการประหยัดพลังงานอุปกรณ์ไอโอทีเซ็นเซอร์แบบไร้สายที่สามารถชาร์จประจุได้บนระบบเครือข่ายการดูแลสุขภาพ” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 43 (Proceedings of the 4rd Electrical Engineering Conference : EECON43), หน้า 418 – 421 ,พิษณุโลก, 28 - 30 ตุลาคม 2563.
3. ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง, และ ศรีฟอง สุภา. “การเพิ่มอัตราขยายสายอากาศระนาบไดโพลโดยใช้โครงสร้างแบบเส้นลวดแผ่นบาง” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ครั้งที่ 12 การพัฒนานวัตกรรมเพื่อก้าวสู่สังคมอัจฉริยะ 4.0 (ECTI-CARD 2020 12th Conference on Application Research and Development), หน้า 331-334, วันที่ 26 – 27 พฤษภาคม 2563, นครสวรรค์, ประเทศไทย.
4. ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง วรเชษฐ เมืองมูล เวโรจน์ ยอดทองดี ธนาวุฒิ ธนวาณิชย์ และ อนุสรณ์ ใจแก้ว“ระบบคัดแยกความสุกของสับปะรดด้วยสีผิวเปลือกสับปะรด”,การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 42 (Proceedings of the 42nd Electrical Engineering Conference : EECON42), หน้า 433 – 436 ,นครราชสีมา, 30 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2562.
5. วิภพ ใจแข็ง พัฒนพงษ์ วีรยุทธกำจร เสกสรรค์ วินยางค์กูล ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง จรัญ คนแรง และ อดิศร กวาวสิบสาม “การออกแบบและสร้างสัญญาณดิวตี้ไซเคิ้ลที่เหมาะสมเพื่อควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงด้วยตัวประมวลผลเชิงตัวเลข”, การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 10,หน้า 558 – 563, กรุงเทพมหานคร, 24 – 26 กรกฏาคม 2562
6. ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง ธนาวุฒิ ธนวาณิชย์ และ อนุสรณ์ ใจแก้ว“การพัฒนาเทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตและแปรรูปสับปะรดภูแล”, 3rd INTERNATIONAL CONFERENCE ON MEDIA STUDIES 2019 ,หน้า 172 – 177, กรุงเทพมหานคร, 3 – 6 กรกฏาคม 2562.
7. ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง วิภพ ใจแข็ง และคมกริช แสงสุรินทร์ “การเพิ่มประสิทธิภาพสายอากาศปากแตรรูปกรวยโดยใช้โหลดไดอิเล็กตริกเลนส์”,การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 10 (Proceedings of the 10th Conference of Electrical Engineering Network 2018: EENET 2018), หน้า 136 – 139 ,กาญจนบุรี, 1 – 3 พฤษภาคม 2561.
8. วิภพ ใจแข็ง ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง ชัชชัย วรพัฒน์ จรัญ คนแรง และคมกริช แสงสุรินทร์ “การควบคุมระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อจัดการพลังงานด้วยระบบสมาร์กริด”,การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 10 (Proceedings of the 10th Conference of Electrical Engineering Network 2018: EENET 2018), หน้า 367 – 370 ,กาญจนบุรี, 1 – 3 พฤษภาคม 2561.
9. ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง, กัลยรัตน์ สมจักร, , จีรวัฒน์ เตวิน , ธนาวุฒิ ธนวาณิชย์ , อธิคม ศิริ, กมล บุญล้อม ,อนุสรณ์ ใจแก้ว และ กฤตกรณ์ ศรีวันนา. “ระบบแลกบัตรเข้าออกหน่วยงานโดยใช้บัตร RFID” บทความวิชาการนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ครั้งที่ 9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาดเพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมสมัยใหม่อย่างยั่งยืน (ECTI-CARD 2017 8th Conference on Application Research and Development), หน้า 297-300, วันที่ 25 – 28 กรกฎาคม 2560, เชียงคาน, เลย, ประเทศไทย.
10. กฤตกรณ์ ศรีวันนา, จีรวัฒน์ เตวิน , อธิคม ศิริ, ธนาวุฒิ ธนวาณิชย์ กมล บุญล้อม และ ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง. “ตู้ฝากสัมภาระแบบอัตโนมัติโดยใช้เทคนิคการรู้จำใบหน้า” บทความวิชาการนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ครั้งที่ 9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาดเพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมสมัยใหม่อย่างยั่งยืน (ECTI-CARD 2017 8th Conference on Application Research and Development), หน้า 293-296, วันที่ 25 – 28 กรกฎาคม 2560, เชียงคาน, เลย, ประเทศไทย.
11. ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง, กัลยรัตน์ สมจักร, สุวนันท์ สุยะต๊ะ, ธวัชชัย สุเขื่อน, อธิคม ศิริ, ธนาวุฒิ ธนวาณิชย์และ กมล บุญล้อม. “ระบบควบคุมทิศทางสายอากาศแบบอัตโนมัติโดยใช้เทคนิคเปรียบเทียบตำแหน่งจีพีเอส” บทความวิชาการนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ครั้งที่ 8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาดเพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมสมัยใหม่อย่างยั่งยืน(ECTI-CARD 2016 8th Conference on Application Research and Development), หน้า 475-478, วันที่ 5 – 8 พฤษภาคม 2559, หัวหิน,ประจวบคีรีขันธ์, ประเทศไทย.
12. เสกสรรค์ วินยางค์กลู กมล บุญล้อม และ ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง “การออกแบบระบบควบคุมกำลังสองเชิงเส้นที่เหมาะสมในการควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง : การเลือกเมทริกซ์ R และ Q ที่เหมาะสมโดยวิธีพื้นที่ผิว ตอบสนอง และช่วงของอัตราส่วน”,การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2556, จ.เชียงใหม่, 2556.
13. กมล บุญล้อม ภูมิพงษ์ ดวงตั้ง และเสกสรรค์ วินยางค์กลู “วงจรกรองความถี่ผ่านแถบแบบ ไมโครสตริปสองชั้นโดยใช้เรโซเนเตอร์อินเตอร์ ดิจิตอลรูปฟันเลื่อยสำหรับระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ย่านความถี่”,การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2556, จ.เชียงใหม่, 2556.